ภิกษุณี (บาลี: ภิกฺขุณี; สันสกฤต: ภิกฺษุณี; จีน: 比丘尼) เป็นคำใช้เรียกนักบวชหญิง ในพระพุทธศาสนา คู่กับ ภิกษุ ที่หมายถึงนักบวชชายในพระพุ ภิกษุณี หรือ ภิกษุณีสงฆ์ จัดตั้งขึ้นโดยพระบรมพุทธานุญาต ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนาคือ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏว่ามีการตั้งวงศ์ภิกษุ ภิกษุณีสายเถรวาทซึ่งสืบวงศ์ ปัจจุบันมีการพยายามรื้อฟื้
[แก้] ประวัติการเกิดภิกษุณีสงฆ์ในสมัยพุทธกาลนั้น แรกเริ่มเดิมที สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ต่อมา พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี ผู้เป็นพระน้านางและพระมาตุจฉา หรือพระมารดาเลี้ยงของเจ้าชายสิ ดังนั้นภิกษุณีที่ทรงอุปสมบทให้ ต่อมาพระพุทธองค์ได้ทรงวางหลั [แก้] การบวชเป็นภิกษุณีฝ่ายเถรวาท[แก้] การบวชเป็นสิกขมานาก่อนที่ผู้หญิงจะบวชเป็นภิกษุณีการบวชเป็นสิกขมานา จะบวชได้ต้องอายุครบ 18 ปี เพราะว่าคนที่จะบวชเป็นภิกษุณี [แก้] การบวชเป็นภิกษุณีเมื่อผู้ที่ประสงค์จะบวชเป็นภิ[แก้] การสูญวงศ์ของภิกษุณีฝ่ายเถรวาทก่อนที่ภิกษุณีสงฆ์จะหมดไปจากอิจากศรีลังกา ภิกษุณีสงฆ์ได้ไปสืบสายไว้ในจีน ไต้หวัน และอื่น ๆ อีกมาก จนกระทั่งพุทธศาสนาที่อินเดี [แก้] การพยายามรื้อฟื้นภิกษุณีในปัจจุบัน มีความเชื่อว่ายังมีภิกษุณีสายเ |
พระอานนท์ได้นำข่าวดีมาบอกแก่ พระนางประชาบดีโคตมี เป็น หญิงคนแรกที่ออกบวชตามพระพุ ส่วนพระนางมหาปชาบดี มีพระทัยน้อมไปในบรรพชา จึงเสด็จไปเฝ้าพระบรมศาสดายังนิ เมื่อพระบรมศาสดาเสด็จกลั ขณะนั้น พระอานนท์ออกมาพบไต่ถาม ทราบความแล้ว ก็รับเป็นภาระนำความกราบทู ในครั้งแรก พระบรมศาสดาไม่ทรงอนุญาต ตรัสว่า สตรีไม่ควรอุปสมบท ภายหลังพระอานนท์ทูลถามว่า หากสตรีบวชแล้ว จะสามารถปฎิบัติธรรมได้บรรลุอริ เมื่อพระศาสดาตรัสว่า “สามารถ” พระอานนท์ก็กราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น ขอได้ทรงพระกรุณาประทานโอกาสให้ ทรงรับสั่งว่า “อานนท์ ผิวะพระนางมหาปชาบดีโคตมี จะทรงรับปฏิบัติครุธรรม ๘ ได้บริบูรณ์ ตถาคตก็อนุญาตให้ได้” “อานนท์ ครุธรรม ๘ ประการนั้น ดังนี้ ๑. ภิกษุณีแม้จะบวชได้ 100 พรรษา ก็พึงให้ทำอัญชลี เคารพนบนอบภิกษุ แม้บวชในวันเดียวนั้น ๒. ภิกษุณีอย่าอยู่ ๓. ภิกษุณี จะต้องทำอุโบสถกรรม และรับโอวาท แต่สำนักสงฆ์ทุกกึ่งเดือน ๔. ภิกษุณีจำพรรษาแล้ว ให้พึงปวารณาในสำนักอุภโตสงฆ์ ๕. ภิกษุณี หากต้องอยู่ปริวาสกรรม พึงประพฤติปักขมานัต (คืออยู่มานัตถึงกึ่งเดือน) ในสำนักอุภโตสงฆ์ ๖. ภิกษุณี อุปสมบทในสำนักอุภโตสงฆ์ พึงสมาทานซึ่งวัตรปฎิบัติในธรรม ๖ ประการ คือ เว้นจากปาณาติบาต ถึงวิกาลโภชนะ เป็นต้น มิให้ล่วง และศึกษาให้รู้วัตรปฎิบัติต่าง ๆ สิ้นกาลถึงพรรษาเต็ม ๗. ภิกษุณี อย่าพึงด่าบริภาษภิกษุสงฆ์ด้ ๘. ภิกษุณี นับแต่วันบรรพชาเป็นต้นไป พึงสดับรับโอวาทของภิกษุกล่าวสั พระอานนท์เถระ เรียนจำครุธรรม ๘ ประการนั้น จากพระบรมศาสดาแล้ว ก็ออกมาแจ้งพระพุทธบัญชานั้นแก่ ครั้นออกพระวัสสา ปวารณาแล้ว พระบรมศาสดากับทั้งพระสงฆ์ ต่อมา พระนางพิมพาเทวี มารดาราหุลกุมาร ก็เข้าเฝ้าพระเจ้ามหานาม ทูลลาออกบรรพชา แล้วทรงพาบรรดาขัตติยนารีทั้ ขอบคุณข้อมูลดีๆ จาก : http://www.crs.mahidol.ac.th/ |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น