บิ๊กอาย (Big Eyes)
บิ๊กอาย เป็นคอนแทคเลนส์ชนิด bifocal เลนส์แบ่งออกเป็นสองครึ่งหนึ่ง ส่วนบนและส่วนอื่นๆ จะต่ำกว่า และบางครั้งก็สามารถอยู่
พิษบิ๊กอาย
- พบว่ามีผู้ป่วยเข้ารับการรั
กษาด้วยอาการตาบวม เป็นสีแดงก่ำ ปวด และมีขี้ตาเป็นสีเขี ยวออกมาตลอดเวลา ทั้งเพศชายและหญิง ทุกรายเป็นวัยรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี เมื่อส่องกล้องพบว่ามีรอยขาวขุ่ นอยู่ในตาดำ เป็นลักษณะของการเกิดแผลที่ กระจกตาดำ ผู้ป่วยต้องเข้ารักษาเป็นผู้ป่ วยใน ผลจากการเก็บตัวอย่างส่ งตรวจหาสาเหตุ พบว่า ตาติดเชื้อแบคทีเรียสูโดโมแนส แอรูจิโนซา ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่สามารถกิ นทะลุกระจกตาดำภายใน 2 วัน หากรักษาไม่ทันอาจส่งผลให้ตาบอด หรือต้องควักลูกตาออก เพื่อไม่ให้ลามไปยังอวัยวะอื่น เนื่องจากเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ เข้าสู่กระแสเลือดได้ ในการรักษาตาติดเชื้อแบคทีเรี ยสูโดโมแนส แอรูจิโนซา ต้องใช้เวลานานและต้องให้ยาฆ่ าเชื้อชนิดแรงทั้งแบบยาฉี ดและยาหยอดตา - สาเหตุที่ทำให้ตาติดเชื้อแบคที
เรียชนิดนี้ เกิดจากการใส่คอนแทคเลนส์บิ๊ กอาย ผู้ป่วยทุกรายมีประวัติใส่บิ๊ กอายทั้งสิ้น โดยซื้อจากแผงลอยวางขายทั่ วไปตามตลาดนัด สะพานพุทธ หรือย่านขายของวัยรุ่น สั่งซื้อจากอินเตอร์เน็ต หรือซื้อจากเพื่อนที่เป็นนายหน้ าขายตรงด้วยการมีแคตตาล็ อกแบบของบิ๊กอายให้ เลือกเป็นชนิดใส่รายปี ในราคาคู่ละ 300 บาท ซึ่งขณะนี้กำลังเป็นที่นิยมใส่ อย่างมากในกลุ่มพนักงานบริษัท หรือคนวัยทำงาน รวมทั้งนักเรียน นักศึกษาทั้งหญิงและชาย สวมใส่ตั้งแต่เรียนอยู่ในชั้ นระดับมัธยมต้น - หนึ่งในผู้ป่วยตาติดเชื้อจนเกิ
ดแผลที่กระจกตาดำ กล่าวว่า ใส่บิ๊กอายเนื่องจากเป็ นคนสายตาสั้น เมื่อใส่แว่นจะรู้สึกเกะกะ และยอมรับว่าอยากสวย บวกกับเห็นเพื่อนใส่มานาน 2-3 ปี จึงตัดสินใจสั่งซื้อทางอินเตอร์ เน็ตแบบรายปี คู่ละ 300 บาท ซึ่งตนจะบอกระยะสายตาที่สั้น เลือกแบบแล้วเพื่อนจะเป็นคนสั่ งซื้อให้พร้อมจัดส่งถึงบ้าน เมื่อเริ่มเปลี่ยนเป็นคู่ที่ 2 ได้ราว 2-3 เดือน เริ่มมีอาการโดยเกิดการระคายเคื องตา จึงถอดบิ๊กอายออกและนอนหลั บตามปกติ เมื่อตื่นขึ้นมา ตาแดง คิดว่าไม่เป็นไร เพราะเคยเป็นมาก่อน ทำให้ใส่บิ๊กอายกลับเข้าไปใหม่ แต่ทันทีที่เจอกับแสงแดด ปรากฏว่าตาสู้แสงไม่ได้ แสบตาและน้ำตาไหล ตาแดงก่ำมาก - ขณะที่ผู้ป่วยตาติดเชื้อจนเกิ
ดแผลที่กระจกตาดำอีกรายอายุ 14 ปี บอกว่า ซื้อบิ๊กอายจากร้านแผงลอยย่ านสะพานพุทธ ใช้ได้ 3-4 เดือนเริ่มเกิดอาการแสบตา และตาแดงมาก รู้สึกเหมือนมีอะไรขาวๆ อยู่ในตาตลอดเวลา เจ็บมาก
- มักเกิดกับผู้ที่ละเลยกับการใส่
ใจดูแลตัวเอง ใส่คอนแทคเลนส์เป็นประจำ พฤติกรรมการเปลี่ยนใส่ คอนแทคเลนส์ เพียงแค่ลืมถอดคอนแทคเลนส์ก่ อนนอน หรือเพียงแค่ลืมดูวันหมดอายุ การใช้งานของคอนแทคเลนส์ การดูแลรักษาความสะอาดไม่เพี ยงพอ ก็อาจมีผลถึงกับทำให้ตาบอดได้ - อาการของโรค ได้แก่ ปวดในตา ตาแดง น้ำตาไหล สู้แสงไม่ได้ บีบตา ตามัว ตรวจพบกระจกตาขุ่น บวมและอักเสบ
- การเกิดภาวะแทรกซ้อน ทำให้กระจกตาเปลี่ยนสภาพ เกิดเป็นต้อหิน ต้อกระจก มักเป็นในรายที่ได้ยาขนาดเข้มข้
นนานๆ บางรายกระจกตาบางลงและทะลุ อาจเกิดการติดเชื้อลุกลามเข้าลู กตา - ระดับของแผลที่กระจกตาชนิดเล็
กน้อย แผลมีขนาดน้อยกว่า 2 มม. ความลึกของแผลน้อยกว่า 20% ของความหนาของกระจกตา - แผลระดับปานกลางขนาด 2-5 มม. ความลึกของแผล 20-50% ของความหนาของกระจกตา
- แผลรุนแรงขนาดใหญ่กว่า 5 มม. ความลึกของแผลมากกว่า 50% ของความหนาของกระจกตา
- ผู้ที่ใส่คอนแทคเลนส์ผิดวิธี ใส่คอนแทคเลนส์ที่หมดอายุ ใส่คอนแทคเลนส์ขณะนอนหลับ กระจกตาต้องการออกซิเจนเข้
าไปหล่อเลี้ยง เมื่อมีคอนแทคเลนส์ขวางอยู่ ทำให้ออกซีเจนไม่สามารถเข้ าไปเลี้ยงกระจกตาได้ การไม่ล้างกล่องใส่คอนแทคเลนส์ และคอนแทคเลนส์ ทำให้เกิดการสะสมของเชื้อโรค เมื่อใส่คอนแทคเลนส์ที่มีเชื้ อโรคสะสมอยู่ ทำให้เชื้อโรคที่สัมผั สกระจกตาปล่อยสารที่มีฤทธิ์ย่ อยเยื่อกระจกตา เป็นสาเหตุของโรคกระจกตาเปือย - บางรายอาจเกิดจากอุบัติเหตุที่
ทำให้เกิดแผลที่ดวงตา แผลที่กระจกตาเป็นภาวะที่ กระจกตาอักเสบเป็นแผล ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ ตาบอด พบเป็นอันดับสองรองจากต้อกระจก โดยการติดเชื้อที่กระจกตาทำให้ มีแผลเป็นและมีฝ้าขาวที่กระจกตา การมองเห็นลดลงสายตาเลือนลาง และตาบอดได้ในบางราย ซึ่งสาเหตุเกิดได้จากทั้งเชื้ อแบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส ปรสิต หรืออาจมีประวัติจากการเกิดอุบั ติเหตุที่ตามาก่อนหรือไม่ก็ได้ - การใส่คอนแทกเลนส์ติดต่อกั
นหลายวัน โดยไม่ได้ล้างทำความสะอาด ทำให้เชื้อโรคที่สัมผั สกระจกตาอยู่ ปล่อยสารออกฤทธิ์ย่อยเยื่ อกระจกตาไปเรื่อยๆ ยิ่งเสี่ยงต่อโรคกระจกตาเปือย ซึ่งรุนแรงถึงขั้นตาบอดในชั่วข้ ามคืนได้
- เริ่มให้ยาให้เร็วที่สุด หลังจากการวิเคราะห์การเพาะเชื้
อของแผล และให้ยาที่ครอบคลุมเชื้ อหลายชนิดก่อน และเมื่อทราบเชื้อ จึงเปลี่ยนหรือปรับยาที่เฉพาะต่ อเชื้อที่สุดด - การให้ยาจะประกอบด้วยยาปฏิชีวนะ ให้ตามกลุ่มที่พบเชื้อจากการย้
อมสี ถ้าไม่พบเชื้อ ควรให้ยาที่มีฤทธิ์กว้าง เช่น Cefazolin Ceftazidime ร่วมกับ Tobramycin หรือ Gentamicin หรือใช้ยาตัวเดียว เช่น Ciprofloxacin - การหยอดตาควรหยอดบ่อยๆ ทุก 5-15 นาที ในชั่วโมงแรก โดยเว้น 5 นาที ถ้าใช้ยาตัวอื่นด้วยเพื่อเพิ่
มปริมาณยาให้ถึงระดับเร็วๆ หรืออาจหยอดทุก 1 นาที เป็นวลา 5 นาที และซ้ำแบบนี้ทุก 30 นาที แล้วจึงห่างเป็นทุก 30-60 นาทีต่อไป
- คอนแทคเลนส์ตาโตสีๆที่ขายทั่วไป อาจทำให้เราเห็นไม่ชัด เนื่องจากเส้นสีของเลนส์อาจขยั
บบังการมองเห็นของเรา ตัวเลนส์หนา ทำให้อากาศถ่ายเทไม่สะดวก ส่งผลให้ตาแห้ง - ล้างและถูตัวเลนส์ก่อนเก็บและก่
อนใส่ทุกครั้ง วิธีล้างคือเทน้ำยาลงที่ตั วเลนส์ ถูเลนส์ เทน้ำยาทิ้ง ทำแบบนี้สัก 2-3 ครั้ง เพื่อเอาคราบโปรตีนและสิ่ งสกปรกออก - หมั่นเปลี่ยนน้ำยาที่แช่เลนส์บ่
อยๆ เพราะเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค - คอนแทคเลนส์รายเดือนดีกว่ารายปี ยิ่งใส่นาน เชื้อโรคยิ่งสะสมมาก
- อย่าใส่ติดต่อกันนานจนเกิ
นไปประมาณ 12 ชม. ก็ควรถอดและเปลี่ยนมาใส่แว่ นแทนบ้าง เพื่อเป็นการให้ตาได้ถ่ ายเทออกซิเจนได้สะดวก - หากนั้งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์นาน ให้ละสายตามองออกไปข้างนอกบ้าง
- คอนแทคเลนส์ตาโตคุณภาพไม่ดีเท่
าคอนเทคเลนส์ทั่วไป - กระพริบตาหรือหลับตาบ่อบๆ ตาจะได้ไม่แห้ง
--
------------------------------
oh~
--
ขอขอบคุณกลุ่ม "โจรอินเตอร์"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น